มีหลายท่าน ที่เข้าใจว่าจะทำธุรกิจอะไรสักอย่างมันสามารถเริ่มต้นได้ง่ายดาย ไปจดทะเบียนจัดตั้งบริษัทแล้วสามารถเริ่มต้นธุรกิจได้เลย หลายๆท่านนอกจากจะมีความสามารถเชี่ยวชาญในธุรกิจที่กำลังจะเริ่มต้น แต่ส่วนใหญ่ยังขาดความรู้ในเรื่องการจัดทำบัญชีอยู่ ทำให้เกิดปัญหาหลายๆอย่างตามมา วันนี้เราจะมาอธิบายให้ฟังกันคะสำหรับผู้ที่ต้องการมีธุรกิจส่วนตัวเป็นของตนเอง หรือต้องการศึกษาเบื้องต้นก่อนว่ากว่าจะเริ่มต้นประกอบธุรกิจเราต้องเตรียมตัวอย่างไรบ้าง ส่วนท่านใดนะคะที่ยัง ไม่ทราบว่าจะเลือกจดทะเบียนแบบไหนดี ลองเข้าไปอ่านลิ้งค์นี้ค่ะ http://nukbunche.blogspot.com/2014_06_01_archive.html
การเริ่มต้นธุรกิจค่ะ. นอกจากเราจะต้องมีเงินลงทุน มีความเชี่ยวชาญในธุรกิจนั้นๆแล้ว เรายังต้องมีความรู้ในด้านบัญชีและภาษีด้วยค่ะ แล้วเราจะต้องเตรียมตัวอะไรบ้างหล่ะ
กรณี ที่ท่านเลือกจดทะเบียน บุคคลธรรมดา. ร้านค้า
ท่านมีหน้าที่จะต้องนำส่งภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา โดยการยื่นแบบ ภงด90 ภงด94
แก่กรมสรรพากร เสียภาษีครึ่งปี และปลายปี โดยการหัก ค่าใช้จ่ายแบบเหมา หรือตามจริงก็ได้ค่ะ
หากท่าน ไม่ยอมยื่น เพื่อเสียภาษีจะเกิดอะไรขึ้น. หากเจ้าหน้าที่สรรพากรตรวจพบว่าเรายื่นภาษีขาดตกหล่น หรือไม่ได้ยื่น เจ้าหน้าที่มีอำนาจในการประเมินภาษีเราแน่นอนค่ะ
กรณี ที่ท่านเลือกจดทะเบียน นิติบุคคล บริษัทจำกัด ห้างหุ้นส่วนจำกัด
ท่านมีหน้าที่จะต้องนำส่งภาษีเงินได้นิติบุคคล โดยการยื่นแบบ. ภงด50 ภงด51
แก่กรมสรรพากร. โดยการหักค่าใช้จ่ายตามจริง.
โดยปกติแล้วการจดทะเบียนนิติบุคคล นอกจากจะมีความน่าเชื่อมากกว่า ทะเบียนพาณิชย์(ร้านค้าทั่วๆไปแล้ว). ท่านยังต้องแสดงผลการดำเนินงานผ่านออกมาในรูปแบบงบการเงินซึ่งต้องหาผู้จัดทำบัญชี และผู้สอบบัญชี เซ็นรับรองงบการเงินด้วย. ซึ่งส่วนใหญ่นักธุรกิจมือใหม่อาจยังไม่ทราบตรงนี้ ว่าจะต้องนำส่งงบการเงินแก่กรมพัฒน์และกรมสรรพากร. หลายๆท่านอาจสงสัยว่าเราสามารถจัดทำเองได้ ไม่ต้องจ้างคนทำบัญชีให้เปลืองค่าใช้จ่าย จริงๆแล้วในงบการเงินจะต้องมีผู้จัดทำบัญชีและผู้สอบบัญชีเซ็นรับรองงบการเงิน. ซึ่งจำเป็นอย่างมากที่จะต้องหาผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางสายวิชาชีพบัญชี ซึ่งต้องได้รับการอบรมและขึ้นทะเบียนกับสภาวิชาชีพบัญชีเท่านั้น. (เป็นสายอาชีพแขนงหนึ่งเหมือน พวก หมอ วิศวะ ทนายความ) และการจ้างบุคคลเหล่านี้เงินเดือนสูงมาก
ดังนั้นบริษัท ห้างหุ้นส่วนขนาดเล็ก จึงนิยมใช้บริการตามสำนักงานบัญชีมากกว่าที่จะจ้างพนักงานบัญชี มาประจำออฟฟิตโดยตรง เพราะนอกจากจะช่วยท่านลดค่าใช้จ่าย. ต้นทุนแรงงานคนแล้ว สำนักงานจะช่วยให้ท่านเสียภาษีอย่างถูกต้อง. อีกทั้งยังมีความรู้เฉพาะทางมากกว่า การรับนักศึกษาจบใหม่มาทำงาน
ปัจจุบัน มีหลากหลายบริษัทที่เข้ามาปรึกษาเรา เพราะขาดความรู้ที่ว่าจะต้องนำส่งงบการเงินทำให้เสียค่าปรับต่างๆ. ไม่ว่าจะเป็นค่าปรับในส่วนกรมพัฒน์ กรมสรรพากร หมายเรียกตำรวจ ท่านสามารถเข้าไปอ่านได้ตามลิงค์ด้านล่าง. หากท่านจัดตั้งห้างหุ้นส่วน หรือบริษัท นิติบุคคลแล้วมิได้นำส่งงบการเงินประจำปีจะเกิดปัญหาอะไรบ้าง
http://nukbunche.blogspot.com/2014/06/blog-post.html
หวังว่าทุกท่านที่ได้ติดตามอ่านบล๊อกของเราจะเป็นประโยชน์แก่ท่าน. ในการวางแนวทางการดำเนินธุรกิจ หากท่านใดกำลังเจอปัญหาแบบเดียวกันอยู่ท่านสามารถโทรมาปรึกษาเราได้ค่ะ ยินดีให้คำแนะนำท่านฟรี ไม่คิดค่าใช้จ่ายค่ะ.
หากท่านใดสนใจใช้บริการของเราราคาไม่แพงต่อรองได้. งบเปล่าราคาเริ่มต้น 6500 บาทรวมค่าสอบบัญชีแล้ว
ในบล๊อกถัดไปนะคะเราจะมารีวิวการจัดทำบัญชีเบื้องต้นให้ท่านนักธุรกิจมือใหม่ค่ะ. เพราะหากท่านไม่ได้เตรียมความพร้อมในเรื่องการจัดทำบัญชีแล้ว ท่านอาจต้องมาปวดหัวทีหลังกับการทีมีแต่รายได้ แต่หาค่าใช้จ่ายมาลงบัญชีให้ถูกต้องตามประมวลรัษฎากรไม่ได้ค่ะ หรือมีแต่ค่าใช้จ่ายเหล่านั้นถือเป็นค่าใช้จ่ายต้องห้าม. (ซึ่งอาจเป็นเหตุให้ท่านเสียภาษีสูงได้ค่ะ). แล้วติดตามชมกันนะคะ เพิ่งเปิดบริษัทควรทำอย่างไรภาค2
วันอังคารที่ 30 ธันวาคม พ.ศ. 2557
วันจันทร์ที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2557
เมื่อเจอหมายเรียก ไม่ส่งงบการเงินควรทำอย่างไร (ภาค3)
สำหรับคนที่อ่าน เมื่อเจอหมายเรียก ไม่ส่งงบการเงินควรทำอย่าง (ภาค 1-2) มาแล้ว และกำลังตัดสินใจว่าจะเครีย ปิดบัญชีให้เรียบร้อย ภาค3 นี้
ฝ้ายจะแจงรายละเอียดให้ค่ะ ว่าจะมีค่าใช้จ่าย อะไรที่เกิดขึ้นบ้าง และจะเสียค่าปรับอยู่ที่เท่าไหร่กัน
สำหรับกิจการที่ไม่มีรายการค้าเลย ภาคแรกตามที่ฝ้ายแจ้งไป ค่าจัดทำงบการเงินรวมค่าสอบบัญชี ราคาตลาดจะอยู่ที่ 8,000-12,000 (ราคาต่อปี)
ซึ่งไม่รวมค่าบริการอื่นๆ เพื่อเป็นการช่วยทุกคนประหยัดค่าใช้จ่ายค่ะ ฝ้ายรับทำอยู่ที่ 6,000 บาท รับทำบัญชีทั่วประเทศค่ะ
งั้นเราลองมาคำนวนคร่าวๆนะคะค่าใช้จ่ายโดยรวมจะเสียประมาณเท่าไหร่
หลังจากเราจ่ายค่าปรับตำรวจแล้ว ก็รีบติดต่อจัดทำงบการเงินและนำส่งให้เรียบร้อยค่ะ
(ถ้าจ่ายค่าปรับอย่างเดียวแต่ไม่นำส่ง จะเกิดอะไรขึ้น ปีถัดมามีหมายเรียกมาอีก ก็ต้องจ่ายไปเรื่อยๆ อย่างนี้ทุกปีค่ะ)
สมมติเริ่มเปิดกิจการ ปี 2555 ปัจจุบัน 2557 ต้องนำส่งงบการเงิน 31 พค 2558
ค่าบริการ+ค่าสอบบัญชี 3ปี (2555-2557) 19,500 (ราคานี้เป็นราคางบเปล่าไม่มีรายการค้า ถ้ามีรายการเคลื่อนไหวอาจปรับราคาเพิ่มขึ้นเล็กน้อย)
ค่าปรับยื่นงบการเงินล่าช้า 2556 12,000
ค่าปรับ ภงด 50 2556 2,000 (ถ้ามีภาษีต้องเสียจะมีเบี้ยปรับเงินเพิ่มค่ะ)
รวม 32,000
สำหรับท่านใดที่ไม่มีเงินก้อนแต่อยากทำให้เรียบร้อย สามารถทยอยยื่นได้ค่ะ
สามารถดูตารางค่าปรับได้ใน เมื่อเจอหมายเรียกไม่ส่งงบการเงินควรทำอย่างไร ภาค1 ค่ะ
เรามีขั้นตอนแนะนำง่าย ๆ ค่ะ ว่าจะทำอะไรก่อนเผื่อสับสน
1 ถ้าอ่านตามนี้แล้วยังไม่เข้าใจ และกังวล โทรหาเราได้ฟรีค่ะ ยินดีให้คำปรึกษา ADD LINE มาคุยกันก็ได้ค่ะ ติดต่อคุณฝ้าย 089-6386450 ID LINE buacc
(เวลาทำการ จันทร์-เสาร์ 9.00 - 17.00)
2 พบตำรวจไปจ่ายค่าปรับยื่นงบการเงินล่าช้า ปี2556 12,000 ที่กรมพัฒน์แล้วเอาใบเสร็จมาปิดเรื่องกับตำรวจ
3 จัดทำบัญชีให้เป็นปัจจุบัน ยื่นงบการเงินให้เรียบร้อยทั้งกรมพัฒน์ และสรรพากร
4 ถ้าไม่อยากประกอบธุรกิจ แจ้งเลิกกิจการเลยค่ะ
สำหรับผู้ที่อ่านไม่ครบทุกภาค สามารถ เข้าไปอ่านได้ตามลิ้งค์ด้านล่างค่ะ
http://nukbunche.blogspot.com/2014/06/blog-post.html
ฝ้ายจะแจงรายละเอียดให้ค่ะ ว่าจะมีค่าใช้จ่าย อะไรที่เกิดขึ้นบ้าง และจะเสียค่าปรับอยู่ที่เท่าไหร่กัน
สำหรับกิจการที่ไม่มีรายการค้าเลย ภาคแรกตามที่ฝ้ายแจ้งไป ค่าจัดทำงบการเงินรวมค่าสอบบัญชี ราคาตลาดจะอยู่ที่ 8,000-12,000 (ราคาต่อปี)
ซึ่งไม่รวมค่าบริการอื่นๆ เพื่อเป็นการช่วยทุกคนประหยัดค่าใช้จ่ายค่ะ ฝ้ายรับทำอยู่ที่ 6,000 บาท รับทำบัญชีทั่วประเทศค่ะ
งั้นเราลองมาคำนวนคร่าวๆนะคะค่าใช้จ่ายโดยรวมจะเสียประมาณเท่าไหร่
หลังจากเราจ่ายค่าปรับตำรวจแล้ว ก็รีบติดต่อจัดทำงบการเงินและนำส่งให้เรียบร้อยค่ะ
(ถ้าจ่ายค่าปรับอย่างเดียวแต่ไม่นำส่ง จะเกิดอะไรขึ้น ปีถัดมามีหมายเรียกมาอีก ก็ต้องจ่ายไปเรื่อยๆ อย่างนี้ทุกปีค่ะ)
สมมติเริ่มเปิดกิจการ ปี 2555 ปัจจุบัน 2557 ต้องนำส่งงบการเงิน 31 พค 2558
ค่าบริการ+ค่าสอบบัญชี 3ปี (2555-2557) 19,500 (ราคานี้เป็นราคางบเปล่าไม่มีรายการค้า ถ้ามีรายการเคลื่อนไหวอาจปรับราคาเพิ่มขึ้นเล็กน้อย)
ค่าปรับยื่นงบการเงินล่าช้า 2556 12,000
ค่าปรับ ภงด 50 2556 2,000 (ถ้ามีภาษีต้องเสียจะมีเบี้ยปรับเงินเพิ่มค่ะ)
รวม 32,000
สำหรับท่านใดที่ไม่มีเงินก้อนแต่อยากทำให้เรียบร้อย สามารถทยอยยื่นได้ค่ะ
สามารถดูตารางค่าปรับได้ใน เมื่อเจอหมายเรียกไม่ส่งงบการเงินควรทำอย่างไร ภาค1 ค่ะ
เรามีขั้นตอนแนะนำง่าย ๆ ค่ะ ว่าจะทำอะไรก่อนเผื่อสับสน
1 ถ้าอ่านตามนี้แล้วยังไม่เข้าใจ และกังวล โทรหาเราได้ฟรีค่ะ ยินดีให้คำปรึกษา ADD LINE มาคุยกันก็ได้ค่ะ ติดต่อคุณฝ้าย 089-6386450 ID LINE buacc
(เวลาทำการ จันทร์-เสาร์ 9.00 - 17.00)
2 พบตำรวจไปจ่ายค่าปรับยื่นงบการเงินล่าช้า ปี2556 12,000 ที่กรมพัฒน์แล้วเอาใบเสร็จมาปิดเรื่องกับตำรวจ
3 จัดทำบัญชีให้เป็นปัจจุบัน ยื่นงบการเงินให้เรียบร้อยทั้งกรมพัฒน์ และสรรพากร
4 ถ้าไม่อยากประกอบธุรกิจ แจ้งเลิกกิจการเลยค่ะ
สำหรับผู้ที่อ่านไม่ครบทุกภาค สามารถ เข้าไปอ่านได้ตามลิ้งค์ด้านล่างค่ะ
เมื่อเจอหมายเรียก ไม่ส่งงบการเงินควรทำอย่างไร (ภาค1)
http://nukbunche.blogspot.com/2014/12/3.html
เมื่อเจอหมายเรียก ไม่ส่งงบการเงินควรทำอย่างไร (ภาค2)
http://nukbunche.blogspot.com/2014/12/2.html
เมื่อเจอหมายเรียก ไม่ส่งงบการเงินควรทำอย่างไร (ภาค3)
http://nukbunche.blogspot.com/2014/06/blog-post.html
เมื่อเจอหมายเรียกไม่ส่งงบการเงินควรทำอย่างไร (ภาค2)
บางท่านที่ได้อ่านภาคแรกไปแล้ว ลองดูภาคสองเพิ่มเติมนะคะ เพื่อเป็นแนวทางในการตัดสินใจว่าจะทำอย่างไรต่อไปดี
ลูกค้าหลายรายโทรมาปรึกษาเรา แล้วอย่างนี้เราควรจะเข้าไปพบตำรวจดีไหมนะ แล้วถ้าไม่ไปหล่ะ ไม่อยากเสียค่าปรับเลย
ธุรกิจก็ไม่ได้ดำเนินการแต่อย่างใดแค่เปิดบริษัทไว้เฉยๆ
เรามาดูข้อดีและข้อเสียกันค่ะ ก่อนตัดสินใจค่ะ
ข้อดี
1 ประหยัดค่าใช้จ่ายในการจัดทำงบการเงินค่ะ เพราะการปิดงบนั้น ต้องปิดบัญชีตั้งแต่เริ่มกิจการค่ะ สมมติว่าไม่ได้ส่งงบการเงินมาเป็นเวลาหลายปี
ค่าใช้จ่ายในการปิดงบนะคะ ตามราคาตลาดงบเปล่า ไม่มีรายการค้า จะอยู่ที่ 8000 - 12,000 ต่อปี ซึ่งเมื่อนับจำนวนปีที่คุณไม่ได้ส่งงบการเงินแล้ว
ก็มากโขอยู่ค่ะ เช่นเริ่มเปิดกิจการตั้งแต่ปี 2555 ปัจจุบัน คือ 2557 ผ่านมาแล้ว 3 ปี คูณเอาง่าย ๆ 3*8,000 รวม 24,000 ทั้งนี้ยังไม่รวมค่าปรับต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น
ข้อเสีย
1 เมื่อคุณโดนหมายเรียกแล้วไม่เข้าไปพบตำรวจ เสี่ยงมากเลยนะคะ เพราะว่าหากเรามีคดีความ หรือบังเอิญ ซวย ต้องขึ้นโรงพัก ขึ้นศาลชื่อของคุณมันอยู่
ในระบบของทางตำรวจ นั่นไง คนนี้โดนหมายแล้วไม่เข้าไปพบ เกิดตรวจสอบเช็กประวัติเรา มันออนไลน์นะคะ แล้วจะทำอย่างไรดี เลือกเอาค่ะ ตอนหมาย
มาเข้าไปเจรจา ทางพี่ตำรวจเค้าก็จะให้เราไปจ่ายค่าปรับกรมพัฒน์ 12000 แล้วเอาใบเสร็จมาปิดเรื่องค่ะ ครั้งแรกออกหมายเรียก ครั้งสองออกหมายจับ
ครั้งสามออกหมายศาล กรณีที่โดนหมายเรียกครั้งแรก ซึ่งถ้าไม่จ่ายเครียให้เรียบร้อย ค่าปรับในชั้นศาลสูงสุดที่ 50,000 สารภาพผิดแล้วจ่ายค่าปรับเป็นอันจบเรื่อง
2 สำหรับบางคนที่ทำงาน หรือจะเข้าไปทำงาน องค์กรใหญ่ๆ ราชการ รัฐวิสาหกิจ บริษัทข้ามชาติ ดูด้วยนะคะ บางที่เช็คประวัติเรา ว่ามีคดีอะไรติดตัวหรือไม่ ซึ่งปัจจุบัน บริษัท ใหญ่ ๆ เค้าเช็ค ก่อนรับคนเข้าทำงานค่ะ อาจทำให้คุณไม่ได้งานในที่ใฝ่ฝันค่ะ ถ้าถามว่า แล้วอย่างนี้ใครโดนบ้าง บอกเลยค่ะไม่รอด กรรมการทุกคน ฝ้ายแนะนำให้ปรึกษากันนะคะ ว่าจะแจ้งเลิกกิจการดีไหม เพราะตอนจดกิจการเราก็แจ้งทางกรมพัฒน์ ตอนเลิกก็ต้องแจ้งเช่นกันค่ะ
3 เรื่องมิจฉาชีพ เคยดูข่าวไหมคะว่า มีคนแอบอ้างชื่อบริษัท ไปกระทำให้บุคคลภายนอกเสียหาก แด่วนี้มิจฉาชีพเยอะมาก มีเทคนิคกระทำความผิดหลากหลายวิธี สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เข้าถึงได้ง่าย เค้ามีวิธีเช็ครายละเอียดข้อมูลได้อยู่แล้วค่ะ ถ้าให้คิดร้ายๆ นะคะ เอาชื่อบริษัทเราไปหลอกชาวบ้าน แล้วยังไง
กรรมการไม่มีใครรู้เรื่องซักคน วันนึง เกิดฟ้องร้องบริษัท แน่ะ ไม่รู้อิโหน่อิเหน่เลย จู่ๆก็โดนฟ้องร้อง ทำยังไงหล่ะทีนี้เรื่องใหญ่ขึ้นศาล ติดต่อทนายความค่ะ ขึ้นโรงขึ้นศาลต่อสู้คดีกันต่อไป ว่าเราไม่ใช่ผู้กระทำความผิดนะ
4 นอกจากค่าปรับกรมพัฒน์แล้ว ก็ยังมีค่าปรับ สรรพากรค่ะ ซึ่งสรรพากรมีอำนาจในการประเมินภาษีเราค่ะ ตรวจบริษัทเราย้อนหลังได้ถึง 5 ปี ลูกค้าบางราย มีรายได้แต่ไม่ยอมนำส่งงบการเงิน วันดีคืนดี โดนสรรพากรสุ่มตรวจไปแจ๊คพอตแตกเลยค่ะ โดนประเมินภาษีเป็นล้านก็มีค่ะ (ขึ้นอยู่กับขนาด และรายได้ของธุรกิจ)
เห็นไหมคะว่าการเปิดบริษัท ทิ้งไว้ แล้วไม่นำส่งงบการเงิน อาจทำให้คุณมีปัญหาหลายๆ อย่างตามมา ไม่ใช่เรื่องเล่น ๆ เลยค่ะ ถ้ากำลังเจอปัญหาแบบนี้อยู่
โทรหาเราได้ค่ะ ยินดีที่ได้ช่วยเหลือ ให้คำแนะนำทุกท่านฟรีค่ะ
ติดต่อคุณฝ้าย 089-6386450 ID LINE buacc
(เวลาทำการ จันทร์-เสาร์ 9.00 - 17.00)
สำหรับผู้ที่อ่านไม่ครบทุกภาค สามารถ เข้าไปอ่านได้ตามลิ้งค์ด้านล่างค่ะ
http://nukbunche.blogspot.com/2014/06/blog-post.html
ลูกค้าหลายรายโทรมาปรึกษาเรา แล้วอย่างนี้เราควรจะเข้าไปพบตำรวจดีไหมนะ แล้วถ้าไม่ไปหล่ะ ไม่อยากเสียค่าปรับเลย
ธุรกิจก็ไม่ได้ดำเนินการแต่อย่างใดแค่เปิดบริษัทไว้เฉยๆ
เรามาดูข้อดีและข้อเสียกันค่ะ ก่อนตัดสินใจค่ะ
ข้อดี
1 ประหยัดค่าใช้จ่ายในการจัดทำงบการเงินค่ะ เพราะการปิดงบนั้น ต้องปิดบัญชีตั้งแต่เริ่มกิจการค่ะ สมมติว่าไม่ได้ส่งงบการเงินมาเป็นเวลาหลายปี
ค่าใช้จ่ายในการปิดงบนะคะ ตามราคาตลาดงบเปล่า ไม่มีรายการค้า จะอยู่ที่ 8000 - 12,000 ต่อปี ซึ่งเมื่อนับจำนวนปีที่คุณไม่ได้ส่งงบการเงินแล้ว
ก็มากโขอยู่ค่ะ เช่นเริ่มเปิดกิจการตั้งแต่ปี 2555 ปัจจุบัน คือ 2557 ผ่านมาแล้ว 3 ปี คูณเอาง่าย ๆ 3*8,000 รวม 24,000 ทั้งนี้ยังไม่รวมค่าปรับต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น
ข้อเสีย
1 เมื่อคุณโดนหมายเรียกแล้วไม่เข้าไปพบตำรวจ เสี่ยงมากเลยนะคะ เพราะว่าหากเรามีคดีความ หรือบังเอิญ ซวย ต้องขึ้นโรงพัก ขึ้นศาลชื่อของคุณมันอยู่
ในระบบของทางตำรวจ นั่นไง คนนี้โดนหมายแล้วไม่เข้าไปพบ เกิดตรวจสอบเช็กประวัติเรา มันออนไลน์นะคะ แล้วจะทำอย่างไรดี เลือกเอาค่ะ ตอนหมาย
มาเข้าไปเจรจา ทางพี่ตำรวจเค้าก็จะให้เราไปจ่ายค่าปรับกรมพัฒน์ 12000 แล้วเอาใบเสร็จมาปิดเรื่องค่ะ ครั้งแรกออกหมายเรียก ครั้งสองออกหมายจับ
ครั้งสามออกหมายศาล กรณีที่โดนหมายเรียกครั้งแรก ซึ่งถ้าไม่จ่ายเครียให้เรียบร้อย ค่าปรับในชั้นศาลสูงสุดที่ 50,000 สารภาพผิดแล้วจ่ายค่าปรับเป็นอันจบเรื่อง
2 สำหรับบางคนที่ทำงาน หรือจะเข้าไปทำงาน องค์กรใหญ่ๆ ราชการ รัฐวิสาหกิจ บริษัทข้ามชาติ ดูด้วยนะคะ บางที่เช็คประวัติเรา ว่ามีคดีอะไรติดตัวหรือไม่ ซึ่งปัจจุบัน บริษัท ใหญ่ ๆ เค้าเช็ค ก่อนรับคนเข้าทำงานค่ะ อาจทำให้คุณไม่ได้งานในที่ใฝ่ฝันค่ะ ถ้าถามว่า แล้วอย่างนี้ใครโดนบ้าง บอกเลยค่ะไม่รอด กรรมการทุกคน ฝ้ายแนะนำให้ปรึกษากันนะคะ ว่าจะแจ้งเลิกกิจการดีไหม เพราะตอนจดกิจการเราก็แจ้งทางกรมพัฒน์ ตอนเลิกก็ต้องแจ้งเช่นกันค่ะ
3 เรื่องมิจฉาชีพ เคยดูข่าวไหมคะว่า มีคนแอบอ้างชื่อบริษัท ไปกระทำให้บุคคลภายนอกเสียหาก แด่วนี้มิจฉาชีพเยอะมาก มีเทคนิคกระทำความผิดหลากหลายวิธี สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เข้าถึงได้ง่าย เค้ามีวิธีเช็ครายละเอียดข้อมูลได้อยู่แล้วค่ะ ถ้าให้คิดร้ายๆ นะคะ เอาชื่อบริษัทเราไปหลอกชาวบ้าน แล้วยังไง
กรรมการไม่มีใครรู้เรื่องซักคน วันนึง เกิดฟ้องร้องบริษัท แน่ะ ไม่รู้อิโหน่อิเหน่เลย จู่ๆก็โดนฟ้องร้อง ทำยังไงหล่ะทีนี้เรื่องใหญ่ขึ้นศาล ติดต่อทนายความค่ะ ขึ้นโรงขึ้นศาลต่อสู้คดีกันต่อไป ว่าเราไม่ใช่ผู้กระทำความผิดนะ
4 นอกจากค่าปรับกรมพัฒน์แล้ว ก็ยังมีค่าปรับ สรรพากรค่ะ ซึ่งสรรพากรมีอำนาจในการประเมินภาษีเราค่ะ ตรวจบริษัทเราย้อนหลังได้ถึง 5 ปี ลูกค้าบางราย มีรายได้แต่ไม่ยอมนำส่งงบการเงิน วันดีคืนดี โดนสรรพากรสุ่มตรวจไปแจ๊คพอตแตกเลยค่ะ โดนประเมินภาษีเป็นล้านก็มีค่ะ (ขึ้นอยู่กับขนาด และรายได้ของธุรกิจ)
อย่าลืมติดตามอ่านเมื่อเจอหมายเรียกไม่ส่งงบการเงินควรทำอย่างไร (ภาค3) ภาคนี้สำหรับคนตัดสินใจที่จะเครียปัญหาต่าง ๆ ให้เรียบร้อยแล้วตั้งใจจะทำทุกอย่างให้เรียบร้อย เราจะมาแจงรายละเอียดให้ฟังกันค่ะ ว่าค่าใช้จ่าย มีอะไรบ้าง
เห็นไหมคะว่าการเปิดบริษัท ทิ้งไว้ แล้วไม่นำส่งงบการเงิน อาจทำให้คุณมีปัญหาหลายๆ อย่างตามมา ไม่ใช่เรื่องเล่น ๆ เลยค่ะ ถ้ากำลังเจอปัญหาแบบนี้อยู่
โทรหาเราได้ค่ะ ยินดีที่ได้ช่วยเหลือ ให้คำแนะนำทุกท่านฟรีค่ะ
ติดต่อคุณฝ้าย 089-6386450 ID LINE buacc
(เวลาทำการ จันทร์-เสาร์ 9.00 - 17.00)
สำหรับผู้ที่อ่านไม่ครบทุกภาค สามารถ เข้าไปอ่านได้ตามลิ้งค์ด้านล่างค่ะ
เมื่อเจอหมายเรียก ไม่ส่งงบการเงินควรทำอย่างไร (ภาค1)
http://nukbunche.blogspot.com/2014/12/3.html
เมื่อเจอหมายเรียก ไม่ส่งงบการเงินควรทำอย่างไร (ภาค2)
http://nukbunche.blogspot.com/2014/12/2.html
เมื่อเจอหมายเรียก ไม่ส่งงบการเงินควรทำอย่างไร (ภาค3)
http://nukbunche.blogspot.com/2014/06/blog-post.html
วันเสาร์ที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557
วันเสาร์ที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2557
โปรแกรมบัญชีฟรี
แนวคิดและที่มา
ในปัจจุบันโลกมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ธุรกิจมีการแข่งขันกันอย่างรุนแรงมากขึ้นในแต่ละวัน คนที่ปรับปรุงและเปลี่ยนแปลงตนเองเท่านั้นที่จะอยู่รอด
ปัจจุบันเทคโนโลยีทางด้านซอฟท์แวร์ได้เข้ามามีบทบาทต่อการทำงานให้มีประสิทธิภาพภายในองค์กรอย่างมากมาย ในฐานะที่โปรซอฟท์กรุ๊ปต้องการเป็นส่วนหนึ่งในการขับเคลื่อนธุรกิจ SMEs ให้มีขีดความสามารถทางด้านการแข่งขัน เราต้องการเป็น "Smart Software for Smart SMEs" เพื่อสร้าง SMEs ให้เติบโตอย่างต่อเนื่องและยั่งยืนต่อไป
เพื่อให้ SMEs มีโอกาสได้ใช้ซอฟท์แวร์ที่มีคุณภาพ จึงมีนโยบายให้ SMEs ทั่วประเทศ ได้ใช้ซอฟท์แวร์ฟรี 2 ปี โดยไม่มีข้อผูกมัดใดๆทั้งสิ้น ทั้งนี้เพื่อเป็นการลดภาระค่าใช้จ่ายให้กับ SMEs ในระยะ 2 ปีแรกซึ่งถือว่าเป็นก้าวแรกของผู้ประกอบการ
ซอฟท์แวร์ที่ SMEs จะได้ใช้ ฟรี 2 ปี ประกอบด้วย
- โปรแกรมบัญชี myAccount
- โปรแกรมเงินเดือน HR-Pro hrpro.prosmes.com
- โฆษณาและประกาศซื้อ-ขายสินค้า B2B E-marketplace ที่ www.B2BThai.com
- ได้ใช้เว็บสำเร็จรูป www.Sogoodweb.com
- ประกาศรับสมัครพนักงานได้ที่ www.Lionjob.com ทั่วประเทศ
- ประกาศรับสมัครพนักงานได้ที่ www.Lionjobmyanmar.com สำหรับประเทศพม่า
โหลดโปรแกรม ตามลิ้งค์ด้านล่าง
http://www.prosmes.com/ArticleInfo.aspx?ArticleID=9840
วันศุกร์ที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2557
โปรแกรมบัญชี แจกฟรี ไม่ใช่แค่ทดลองใช้
โปรแกรมบัญชี แจกฟรี ไม่ใช่แค่ทดลองใช้
Formula SmartBiz
ดาวน์โหลดคลิกที่นี่
http://plusmainfotech.com/formula-smartbiz.php
โปรแกรม Formula Smallbiz ประกอบด้วย ระบบต่าง ๆ ดังต่อไปนี้
- ระบบขาย/จองสินค้า
- วิเคราะห์การขาย
- ระบบลูกหนี้
- Micro Biz
- จัดซื้อ / ออกใบสั่งซื้อ
- วิเคราะห์การซื้อ
- ระบบเจ้าหนี้
- ระบบรักษาความปลอดภัย
- ระบบเช็ค
- ระบบสต๊อค
- ส่วนเพิ่มเติมระบบ
- บำรุงรักษาข้อมูล
- ระบบสินทรัพย์
- ระบบภาษี
- ระบบบัญชี
- แก้คุณสมบัติ
จุดเด่น
- ไม่ต้องใช้แผ่น Key disk
- ไม่มีการ Lock ระยะเวลาในการใช้โปรแกรม
- ไม่มีการ Lock จำนวนครั้งในการติดตั้ง
- ง่ายต่อการสำรองข้อมูล
รายงานวิเคราะห์ การซื้อ-การขาย
- ระบบควบคุมสต็อคสินค้า
- ระบบเจ้าหนี้-ระบบลูกหนี้
- โปรแกรมถูกออกแบบมาให้ใช้งานง่าย ลดภาระในการเรียนรู้การใช้งาน
- สามารถเชื่อมต่อออนไลน์กับสำนักงานบัญชี
- สามารถส่งข้อมูลการซื้อ-ขายให้กับสำนักงานบัญชี
- สามารถดูงบการเงินเบื้องต้นได้รวดเร็วกว่าเดิม
- เพิ่มศักยภาพในการแข่งขันด้วยการนำเทคโนโลยีทางด้าน IT เข้ามาช่วย
- ได้รับโปรแกรมลิขสิทธิ์ใช้งานโดยไม่มีเงื่อนไข
- สามารถใช้ประโยชน์จากโปรแกรมเพื่อช่วยในการบริหารจัดการ
http://plusmainfotech.com/formula-smartbiz.php
Formula SmartBiz
ดาวน์โหลดคลิกที่นี่
http://plusmainfotech.com/formula-smartbiz.php
โปรแกรม Formula Smallbiz ประกอบด้วย ระบบต่าง ๆ ดังต่อไปนี้
- ระบบขาย/จองสินค้า
- วิเคราะห์การขาย
- ระบบลูกหนี้
- Micro Biz
- จัดซื้อ / ออกใบสั่งซื้อ
- วิเคราะห์การซื้อ
- ระบบเจ้าหนี้
- ระบบรักษาความปลอดภัย
- ระบบเช็ค
- ระบบสต๊อค
- ส่วนเพิ่มเติมระบบ
- บำรุงรักษาข้อมูล
- ระบบสินทรัพย์
- ระบบภาษี
- ระบบบัญชี
- แก้คุณสมบัติ
จุดเด่น
- ไม่ต้องใช้แผ่น Key disk
- ไม่มีการ Lock ระยะเวลาในการใช้โปรแกรม
- ไม่มีการ Lock จำนวนครั้งในการติดตั้ง
- ง่ายต่อการสำรองข้อมูล
รายงานวิเคราะห์ การซื้อ-การขาย
- ระบบควบคุมสต็อคสินค้า
- ระบบเจ้าหนี้-ระบบลูกหนี้
- โปรแกรมถูกออกแบบมาให้ใช้งานง่าย ลดภาระในการเรียนรู้การใช้งาน
- สามารถเชื่อมต่อออนไลน์กับสำนักงานบัญชี
- สามารถส่งข้อมูลการซื้อ-ขายให้กับสำนักงานบัญชี
- สามารถดูงบการเงินเบื้องต้นได้รวดเร็วกว่าเดิม
- เพิ่มศักยภาพในการแข่งขันด้วยการนำเทคโนโลยีทางด้าน IT เข้ามาช่วย
- ได้รับโปรแกรมลิขสิทธิ์ใช้งานโดยไม่มีเงื่อนไข
- สามารถใช้ประโยชน์จากโปรแกรมเพื่อช่วยในการบริหารจัดการ
http://plusmainfotech.com/formula-smartbiz.php
วันอาทิตย์ที่ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2557
จดทะเบียนแบบไหนดี
เมื่อจะเริ่มต้นประกอบกิจการ จะจดทะเบียนแบบไหนดี
1. บุคคลธรรมดา
|
หรืออีกนัยหนึ่ง คือ “ธุรกิจเจ้าของคนเดียว” ลักษณะของกิจการประเภทนี้คือ
การตัดสินใจต่าง ๆ เป็นสิทธิของผู้เป็นเจ้าของเพียงคนเดียว การตัดสินใจต่าง
ๆ อยู่ในลักษณะ คิดคนเดียว ทำคนเดียว ซึ่งผลดีคือตัดสินใจง่ายและรวดเร็ว
แต่ผลจากการคิดคนเดียว ไม่ว่าจะเป็นผลดี…ได้
กำไร หรือเป็นผลเสีย….ขาดทุน ก็รับผลคนเดียวเต็ม ๆ
ซึ่งลักษณะธุรกิจประเภทนี้จะดีมากถ้าเจ้าของไม่มีปัญหาเรื่องเงินทุนหมุน
เวียน เพราะธุรกิจประเภทนี้ไม่สามารถระดมทุนจากใครได้
ลักษณะการเสียภาษี
เป็นไปตาม “อัตราก้าวหน้า” ซึ่งหมายถึง
ถ้ารายได้มากก็จะเสียภาษีมาก โดยอัตราภาษี สูงสุด ถึง 37%
ของกำไรหลังหักค่าใช้จ่าย นั่นคือ ค่าใช้จ่ายจะถูกกำหนดไว้ เป็น 2
ลักษณะ คือ อัตราเหมา (
กำหนดเป็นเปอร์เซ็นต์ตายตัวตามประเภทของธุรกิจ) และค่าใช้จ่ายตามจริง
(ต้องอ้างอิงเอกสารค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ที่สรรพากรยอมรับได้ หลังจากนั้นจึงนำมาหักค่าลดหย่อนส่วนตัว จึงจะเป็นฐานภาษีสำหรับคำนวณภาษีที่ต้องชำระ
2.นิติบุคคล
|
เป็นรูปแบบธุรกิจที่บุคคล 2 คนขึ้นไป ตกลงทำกิจการร่วมกัน
โดยมีวัตถุประสงค์จะแบ่งเป็นผลกำไร ตามอัตราส่วนที่แต่ละคนได้ลงทุน
ซึ่งแบ่งได้ เป็น 2 ประเภท คือ
1. หุ้างหุ้นส่วนสามัญ
- ลักษณะธุรกิจประเภทนี้ ไม่จำเป็นต้องเป็นนิติบุคคล
- ผู้เป็นหุ้นส่วนทุกคนต้องรับผิดชอบในหนี้สินไม่จำกัดจำนวน
- ถ้าไม่จดทะเบียนจะมีสถานะเป็นคณะบุคคล
- ถ้าจดทะเบียน มีสถานะเป็นนิติบุคคล เรียกว่า “ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล"
การจัดทำบัญชีและเสียภาษี การเสียภาษีเงินได้ของคณะบุคคลจะเสียภาษีเงินได้เหมือนกับบุคคลธรรมดาที่แยกออกจากตัวบุคคล ถือเป็นบุคคลอีกคนหนึ่งตามมาตรา 56 วรรค (2) ของประมวลรัษฏากร นอกจากนี้เงินส่วนแบ่งกำไรจากห้างหุ้นส่วนสามัญหรือคณะบุคคลได้รับสิทธิยกเว้นภาษีเงินได้ด้วย
2 . ห้างหุ้นส่วนจำกัด
2 . ห้างหุ้นส่วนจำกัด
- ต้องจดทะเบียนเป็นนิติบุคคล
- ความรับผิดชอบของผู้เป็นหุ้นส่วนแบ่งเป็น 2 ประเภทคือ
- ผู้เป็นหุ้นส่วนรับผิดชอบในหนี้สินจำกัด ไม่เกินเงินที่ได้ลงทุนไป ซึ่งหุ้นส่วน ประเภทนี้จะไม่มีสิทธิในการตัดสินใจในกิจการ
- ผู้เป็นหุ้นส่วนรับผิดชอบในหนี้สิน “ไม่
จำกัดจำนวน” ในที่นี้คือ
“หุ้นส่วนผู้จัดการ” ซึ่งหุ้นส่วนประเภทนี้จะมีหน้าที่รับผิดชอบ
และมีสิทธิเต็มที่ในการตัดสินใจในเรื่องต่าง ๆ ของกิจการ
การจัดทำบัญชีและเสียภาษี มีหน้าที่ต้องจัดทำบัญชี เหมือนกรณีตั้งบริษัท และเสียภาษีตามอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล
3 . บริษัทจำกัด
มีลักษณะจำเพาะดังนี้คือ
- แบ่งเงินลงทุนเป็นหุ้นมีมูลค่าหุ้นละ เท่า ๆ กัน
- มีผู้เริ่มก่อการจัดตั้งบริษัท ไม่น้อยกว่า 3 คน
- ผู้ถือหุ้นรับผิดชอบไม่เกินจำนวนค่าหุ้นที่ยังชำระไม่ครบถ้วน
- มีสภาพเป็นนิติบุคคล
- สามารถระดมทุนได้มากและง่าย
- ลักษณะการตัดสินใจในการบริหารงานเป็นในรูปของคณะกรรมการบริษัท จึงทำให้ได้รับความน่าเชื่อถือมากกว่าแบบบุคคลธรรมดา
การจัดทำบัญชีและเสียภาษี มีหน้าที่ต้องจัดทำบัญชี และเสียภาษีตามอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล
รายละเอียด
|
เจ้าของคนเดียว
|
ห้างหุ้นส่วน
|
บริษัทจำกัด
|
1. เงินลงทุน
|
มีเงินทุนจำกัด
|
ระดมทุนได้มากขึ้น
|
ระดมทุนได้ง่ายและมาก
|
2. การบริหารงาน
|
มีอำนาจตัดสินใจคนเดียว
|
ต้องปรึกษากับหุ้นส่วน
|
บริหารโดยคณะกรรมการบริษัท
|
3. ความรับผิดในหนี้สิน
|
เต็มจำนวน
|
- เต็มจำนวน(กรณีไม่จำกัดความรับผิดชอบ)
- จำกัด ไม่เกินมูลค่าหุ้น (กรณีจำกัดความรับผิดชอบ)
|
จำกัดเฉพาะมูลค่าหุ้นที่ยังชำระไม่ครบ
|
4. ผลกำไรขาดทุน
|
รับเพียงคนเดียว
|
เฉลี่ยให้ผู้เป็นหุ้นส่วน
|
จ่ายเป็นเงินปันผลตามจำนวนหุ้นที่ถือ
|
5. ภาษีเงินได้
|
ตามอัตราก้าวหน้า สูงถึง 37%
|
ตามอัตราก้าวหน้า สูงถึง 37% แต่ถ้าจดเป็นนิติฯ จะเสีย 15%-30% กรณีขาดทุนไม่ต้องเสียภาษี
|
อัตราร้อยละ 30 ของกำไรสุทธิ (SME เสียภาษีตามอัตราก้าวหน้า 15%-30%) ในกรณีขาดทุนไม่ต้องเสียภาษี
|
6. ความน่าเชื่อถือ
|
ต่ำ
|
ปานกลาง
|
สูง
|
วันอาทิตย์ที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2557
เมื่อเจอหมายเรียก ไม่ส่งงบการเงินควรทำอย่างไร (ภาค1)
มีลูกค้าหลายราย โทรเข้ามาสอบถามเกี่ยวกับ หมายเรียก จากสำนักงานตำรวจแห่งชาติที่มิได้นำส่งงบการเงิน ซึ่งตามกฎหมายบังคับให้มีการยื่นงบการเงินประจำปี สำหรับผู้ประกอบธุรกิจที่มิได้นำส่งงบการเงินประจำปีก็อาจเป็นเหตุให้ได้รับหมายเรียกจากสำนักงานตำรวจแห่งชาติ
ปัจจุบันทางกรมพัฒนาธุรกิจการค้า จะลิสรายชื่อบริษัท หรือห้างหุ้นส่วน นิติบุคคล ที่มิได้นำส่งงบการเงินประจำปี ส่งให้ทาง สำนักงานตำรวจแห่งชาติดำเนินการออกหมายเรียกให้เราไปจ่ายค่าปรับ สูงสุดถึง 50,000 บาทเลยหล่ะค่ะ
สำหรับในปีนี้ท่านใดที่ยื่นงบการเงินไม่ทันแล้ว หรือโดนหมายเรียก สามารถโทรมาปรึกษาเราได้ค่ะ(ไม่มีค่าใช้จ่าย ยินดีให้คำแนะนำฟรีค่ะ)
โดนหมายเรียก หรือมิได้ยื่นงบการเงิน เราจะทำอย่างไรดี คำถามยอดฮิตเลยค่ะ
อันดับแรกที่ควรทำคือ เมื่อถูกหมายเรียก ควรติดต่อหาผู้จัดทำบัญชี ให้โดยเร็ว แล้วรีบดำเนินการจัดทำงบการเงินให้เป็นปัจจุบัน โดยปกติอายุความ จะ 1 ปีทั้งในส่วนของ กรมพัฒ และ สรรพากร (ค่าปรับในส่วนนี้เป็นค่าปรับยื่นงบการเงินล่าช้าค่ะ เช่น โดยปกติ งบการเงินปี 2555 จะต้องยื่นภายใน 31/5/56 แต่เรามิได้ยื่นใช่ไหมค่ะ อายุความ นับไปอีก 1 ปี ค่ะ หลังจาก 31/5/57 คือวันที่ 1/6/57 เป็นต้นไป สามารถยื่นงบการเงินปี 55 โดยไม่เสียค่าปรับ (ยื่นงบการเงินล่าช้าค่ะ) แต่งบการเงินปี 56 เราก็ต้องยื่นนะคะ สำหรับท่านใดที่ยื่นงบการเงิน ปี 2556 ไม่ทันแล้ว ภายใน 31/5/57 ที่สิ้นสุดระยะเวลาการยื่น ภายในสองเดือนนับแต่สิ้นสุดระยะเวลาการยื่น แค่ปรับกรมพัฒน์ ยื่นงบการเงินล่าช้าอยู่ที่ 2,000 บาทค่ะ เกินจากนั้น ดูตามเรต รูปภาพที่แนบให้ดูเลยค่ะ ข้อควรระวังนิดนึงนะคะ ตอนนี้เลยระยะเวลาการยื่นแล้วค่ะ สำหรับ บจก. ที่อนุมัติงบการเงินไม่ทัน 30/4/57 จะเสียค่าปรับเพิ่มค่ะในส่วนที่อนุมัติการเงินไม่ทัน บริษัท 6,000 บาท กรรมการ 6,000 บาท (สรุปต้องเสียค่าอนุมัติงบการเงินไม่ทัน และค่ายื่นงบการเงินล่าช้า)
หากเรายื่นแบบแสดงรายการให้เป็นปัจจุบันแล้ว ยังไม่ได้หมายความว่าเราจะพ้นผิดในส่วน หมายเรียกที่ ทาง สนง ตำรวจส่งมา แต่อายุความนี้จะหมดภายใน 5 ปี หากเราไม่สบายใจก็ไปพบตำรวจ ทางตำรวจก็จะให้เราไปจ่ายค่าปรับกรมพัฒน์ 12000แล้วเอาใบเสร็จมาปิดเรื่อง เพราะถ้าไม่เข้าไปพบกับทางตำรวจ รายชื่อเราก็ยังโชว์ว่ายังไม่เคลียให้เรียบร้อยในส่วนนี้ซึ่งค่าปรับสูงสุดจะอยู่ที่ 50,000 บาท
ถ้าเราคิดว่าจะไม่ทำธุรกิจแล้วแนะนำให้ยื่นงบการเงินให้เป็นปัจจุบัน เคลียกับทางกรมพัฒน์ ตำรวจ สรรพากรให้เรียบร้อย แล้วจดเลิกบริษัทไปเลยค่ะ จะได้ไม่เสียค่าใช้จ่ายในการจัดทำบัญชี ตลอดค่าปรับต่างๆ ที่ตามมาค่ะ
ท่านใดที่อ่านภาคแรกแล้วกำลังสงสัยว่าจะทำอย่างไรต่อไปดี อย่าลืมติดตามอ่านภาคสองนะคะ เพื่อเป็นแนวทางในการตัดสินใจค่ะ
หากมีข้อสงสัยเพิ่มเติม โทรมาปรึกษาเราได้ค่ะ ยินดีให้คำปรึกษาฟรี ไม่มีค่าใช้จ่าย
ติดต่อคุณฝ้าย 089-6386450 ID LINE buacc
(เวลาทำการ จันทร์-เสาร์ 9.00 - 17.00)
เมื่อเจอหมายเรียก ไม่ส่งงบการเงินควรทำอย่างไร (ภาค1)
http://nukbunche.blogspot.com/2014/12/3.html
เมื่อเจอหมายเรียก ไม่ส่งงบการเงินควรทำอย่างไร (ภาค2)
http://nukbunche.blogspot.com/2014/12/2.html
เมื่อเจอหมายเรียก ไม่ส่งงบการเงินควรทำอย่างไร (ภาค3)
http://nukbunche.blogspot.com/2014/06/blog-post.html
วันเสาร์ที่ 26 เมษายน พ.ศ. 2557
จดทะเบียนธุรกิจ
บริการจดทะเบียนธุรกิจ
เริ่มต้นเพียง 2,900 บาท
จดเปิดบริษัท ห้างหุ้นส่วน
ค่าธรรมเนียมตามจริง
ที่นี่ที่เดียว ของแถมจัดเต็ม และเคล็ดลับ
การหาลูกค้าที่ไม่มีใครบอก
โทรปรึกษา ฟรี !!!
062.4593641
ของแถมจัดเต็ม
มูลค่ารวมกว่า 50,000 บาท
(หมดเขตสิ้นเดือนนี้เท่านั้น)
ของแถมที่ท่านจะได้รับทันที
(หมดเขตสิ้นเดือนนี้เท่านั้น)
ของแถมที่ท่านจะได้รับทันที
ที่จดทะเบียนกับเรา
- ฟรี! โปรแกรมบัญชี ออนไลน์ สำหรับใช้จัดทำเอกสารทางธุรกิจ
- ฟรี! ไฟล์ “หน้าที่ของผู้ประกอบการรายใหม่”
- ฟรี! ที่ปรึกษาบัญชีและภาษีตลอดระยะเวลาดำเนินการ
- ฟรี! วางระบบบัญชีพื้นฐานให้เหมาะสมกับกิจการของท่าน
- ฟรี! ไฟล์เอกสารทางธุรกิจ สัญญาต่างๆที่จำเป็นต่อธุรกิจของท่าน
- ฟรี! จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม (VAT)
- ฟรี! ไฟล์รายงานการประชุมสำหรับเปิดบัญชีธนาคาร
- ฟรี! โปรแกรมสำหรับออกแบบนามบัตร โบรชัวร์ ป้ายโฆษณา สื่อทางการตลาด
- ฟรี! เทคนิคการหาลูกค้า
เราให้บริการจดทะเบียน
บริษัท ห้างหุ้นส่วน และจดทะเบียนธุรกิจทุกรูปแบบ
- จดทะเบียนจัดตั้ง บริษัท, ห้างหุ้นส่วน
- จดทะเบียนแก้ไขเพิ่มเติมทะเบียนพาณิชย์
ค่าบริการ เริ่มต้น 2,000 บาทต่อกรณี - แก้ไขเพิ่มเติมกรรมการและอำนาจกรรมการ
- แก้ไขเพิ่มเติมที่ตั้งของสำนักงาน
(ย้ายที่ตั้งสำนักงาน) - แก้ไขเพิ่มเติมดวงตราสำคัญ
- แก้ไขเพิ่มเติมวัตถุที่ประสงค์
- แก้ไขเพิ่มเติมหนังสือบริคณห์สนธิ
- แก้ไขเพิ่มเติมมติพิเศษให้เพิ่มทุน
- แก้ไขเพิ่มเติม ลดทุน
- แก้ไขเพิ่มเติมข้อบังคับ
- จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม
(บุคคลธรรมดา, นิติบุคคล) - จดทะเบียนพาณิชย์ / ยกเลิกการจดทะเบียน
(ร้านค้า, บุคคลธรรมดา) - ขึ้นทะเบียนประกันสังคม นายจ้าง / ลูกจ้าง
- จัดทำแบบประกันสังคมประจำเดือน พร้อมนำส่ง
- จดทะเบียนเลิกบริษัท, ห้างหุ้นส่วน
มั่นใจได้! กว่า 100 บริษัท
เลือกใช้บริการทำบัญชีและภาษีกับเรา
เลือกใช้บริการทำบัญชีและภาษีกับเรา
โดยผู้เชี่ยวชาญประสบการณ์มากกว่า10ปี
และเป็นที่ปรึกษาให้กับสำนักงานบัญชีหลายแห่ง
One Stop Services
One Stop Services
มาที่เดียวจบทุกเรื่องบัญชีและภาษี
- คุ้มเกินราคา : ทำบัญชีราคาถูก พร้อมปรึกษาธุรกิจที่เสมือนเป็นหุ้นส่วนที่จะคอยสนับสนุนธุรกิจท่านตลอดไป ประสบการณ์สูง : ด้วยทีมงานมืออาชีพ ประสบการณ์ตรงกว่า 10 ปี เคลียร์ได้ทุกประเด็น
- ตรงเวลา : ด้วยคุณภาพและมาตรฐานเหมือนกันไม่ว่าท่านจะเป็นกิจการขนาดเล็ก กลาง หรือใหญ่ก็ตาม
- มั่นใจได้ 100% : ผลงานดูแลลูกค้ากว่า 100 บริษัท ชัดเจนทุกคำพูด เราเป็นบริษัทชั้นนำด้านรับทำบัญชี ที่ได้รับความไว้วางใจจากองค์กรมากมาย ในหลากหลายธุรกิจ ทั้งองค์กรธุรกิจขนาดเล็ก กลาง (SMEs) และใหญ่ เช่น
- รับทำบัญชี ธุรกิจออนไลน์ Facebook, Instagram, Shopee, Lazada
- รับทำบัญชี ธุรกิจการผลิต
- รับทำบัญชี ธุรกิจซื้อมาขายไป
- รับทำบัญชี ธุรกิจให้บริการ
- รับทำบัญชี ธุรกิจรับเหมาก่อสร้าง
- รับทำบัญชี ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์
- รับทำบัญชี ธุรกิจหอพัก อพาร์ทเมนท์ โรงแรม
- รับทำบัญชี ธุรกิจให้บริการด้าน ซอฟแวร์
- รับทำบัญชี ธุรกิจนำเข้าส่งออก
- รับทำบัญชี ธุรกิจขนส่ง
- รับทำบัญชี ธุรกิจร้านทอง
- รับทำบัญชี ธุรกิจคลินิกทัตกรรม
- รับทำบัญชี ธุรกิจคลินิกศัลยกรรม
- รับทำบัญชี ธุรกิจการฝากขายในห้างสรรพสินค้า
- รับทำบัญชี ธุรกิจบริษัทที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุนจากคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (BOI)
5 เหตุผลที่ผู้ประกอบการ
ไว้ใจใช้บริการกับเรา
ไว้ใจใช้บริการกับเรา
- ฟรี! ให้คำปรึกษาการวางระบบบัญชีเพื่อควบคุมภายใน
- ฟรี! เทคนิคการประหยัดภาษีอย่างถูกต้อง
- ฟรี! เคลียร์ปัญหาด้านบัญชีและภาษี
- ฟรี! วางแผนป้องกันปัญหาบัญชีและภาษีในอนาคต ที่อาจเป็นสาเหตโดนกรมสรรพากรเรียกตรวจสอบ
- ฟรี! บริการที่ปรึกษาธุรกิจ (Consult) ที่คอยสนับสนุนธุรกิจของท่านให้ราบรื่น
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)